ปลูกผมเทคนิค FUE เหมือนเทคนิค DHI จริงหรือ?

Table of Contents

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Ut elit tellus, luctus nec ullamcorper mattis, pulvinar dapibus leo.Lorem ipsum dolor sit amet consectetur adipiscing elit dolor

การปลูกผมเมื่อหลายปีก่อน จะมีตัวเลือกหลัก ๆ 2 ตัวเลือกนั่นก็คือ FUE (แบบเจาะ) และ FUT (แบบกรีดหนังศีรษะ) แต่เมื่อเวลาผ่านไป การปลูกผมแบบ FUT ก็เริ่มเสื่อมความนิยมลง เนื่องจากเป็นการสร้างแผลขนาดใหญ่ มีเวลาพักฟื้นที่นาน และที่สำคัญทำให้เกิดแผลเป็นขนาดใหญ่บริเวณด้านหลังศีรษะของคนไข้อีกด้วย

ปัจจุบันการปลูกผมแบบ Follicular Unit Excision (FUE) หรือการปลูกผมแบบเจาะรากผมออกมาทีละกราฟต์นั้นเป็นการปลูกผมกระแสหลัก ณ ปัจจุบันครับ แต่ในส่วนของขั้นตอนการปลูกนั้นแต่เดิมเราใช้การปลูกด้วยเข็มและ Forceps ข้อเสียของเข็ม และ Forceps คือไม่สามารถปลูกได้แน่น (20-40 กราฟต์/ตร.ซม.) จึงได้มีการคิดค้น และพัฒนาอุปกรณ์ช่วยปลูก หรือที่เราเรียกกันว่า Implanter นั่นเองครับ

การใช้ Implanter จะทำให้คุณหมอผู้ปลูกสามารถกำหนดความลึกและทิศทางของเส้นผมได้ครับ ดังนั้นการปลูกผมด้วย Implanter จึงได้ผลลัพธ์ที่ดูเป็นธรรมชาติครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างแนวผมใหม่ คงไม่ดีแน่ ๆ หากเราต้องการสร้างแนวผมใหม่ แต่ดันไม่แน่นหรือมีทิศทางที่ไม่เป็นธรรมชาติครับ

และนี่ก็เป็นที่มาของเทคนิคที่ชื่อว่า DHI (Direct Hair Implantation) ครับ ถึงแม้ว่าขั้นตอนการเจาะกราฟต์ผมออกมาจะไม่ต่างกับเทคนิค FUE แบบดั้งเดิม แต่ในส่วนของขั้นตอนการปลูกแตกต่างกันชัดเจน

DHI เป็นเพียงชื่อทางการตลาดจริงหรือ?

คำถามที่หลาย ๆ คนสอบถามหมอเข้ามาก็คือ DHI เป็นแค่ชื่อในมาการตลาดจริงหรือไม่ หมอต้องขอตอบแบบนี้ครับว่า มันขึ้นอยู่กับมุมมอง จะให้เรียกว่าการปลูกผม FUE แบบใช้ Implanter ก็คงดูแปลก ๆ และที่สำคัญ คำว่า DHI ก็เป็นคำกลางที่ใช้กันทั่วโลกครับ ในตำราเมื่อหลายปีก่อน การปลูกผม FUE ยังย่อมาจาก Follicular Unit Extraction ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็น Follicular Unit Excision ในภายหลัง เนื่องจากเทคโนโลยีการปลูกผมยังเป็นสิ่งที่ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดพัฒนาการด้านต่าง ๆ เพื่อให้ผลลัพธ์ดียิ่งขึ้นไป และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ที่ดีกว่าเดิม จึงไม่แปลกที่จะทำให้เกิดคำนิยาม หรือคำเรียกใหม่ ๆ ขึ้นมาครับ

เลือกเทคนิคไหนดี

ส่วนตัวหมอแนะนำเทคนิค DHI ครับ เพราะอย่างที่แจ้งไปข้างต้นที่ผลลัพธ์ดูเป็นธรรมชาติกว่าชัดเจน ที่สำคัญการปลูกผมเทคนิค DHI ไม่ต้องพักฟื้นครับ ดังนั้นในปี 2021 นี้หากคนไข้ท่านใดรู้สึกกังวลกับปัญหาผม หมออยากให้ทุก ๆ คนได้ศึกษาการปลูกผมเทคนิค DHI ครับ ไม่ว่าจะเป็นบทความในไทย หรือต่างประเทศก็ตาม

แต่การปลูกผม FUE ไม่ได้เป็นทางเลือกที่เลวร้ายเลยครับ เพราะอย่างน้อยที่สุดก็ไม่ได้เกิดรอยแผลเป็นด้านหลังชัดเจน ดังนั้นสำหรับหลาย ๆ ท่านที่ปัญหาไม่มาก ต้องการปลูกแซมเพียงเล็กน้อยก็สามารถปลูกผมด้วยเทคนิค FUE ครับ

การเลือกแพทย์และคลินิกปลูกผมก็สำคัญไม่แพ้กัน

การปลูกผมเป็นหัตถการที่ต้องการความชำนาญของทีมแพทย์ เนื่องจากเป็นหัตถการที่มีความละเอียดอ่อน ดังนั้นนอกจากเทคนิคที่ใช้ปลูกแล้ว ความชำนาญของทีมแพทย์ก็เป็นปัจจัยสำคัญในการปลูกผมครับ

การปลูกผมเมื่อหลายปีก่อน จะมีตัวเลือกหลัก ๆ 2 ตัวเลือกนั่นก็คือ FUE (แบบเจาะ) และ FUT (แบบกรีดหนังศีรษะ) แต่เมื่อเวลาผ่านไป การปลูกผมแบบ FUT ก็เริ่มเสื่อมความนิยมลง เนื่องจากเป็นการสร้างแผลขนาดใหญ่ มีเวลาพักฟื้นที่นาน และที่สำคัญทำให้เกิดแผลเป็นขนาดใหญ่บริเวณด้านหลังศีรษะของคนไข้อีกด้วย

ปัจจุบันการปลูกผมแบบ Follicular Unit Excision (FUE) หรือการปลูกผมแบบเจาะรากผมออกมาทีละกราฟต์นั้นเป็นการปลูกผมกระแสหลัก ณ ปัจจุบันครับ แต่ในส่วนของขั้นตอนการปลูกนั้นแต่เดิมเราใช้การปลูกด้วยเข็มและ Forceps ข้อเสียของเข็ม และ Forceps คือไม่สามารถปลูกได้แน่น (20-40 กราฟต์/ตร.ซม.) จึงได้มีการคิดค้น และพัฒนาอุปกรณ์ช่วยปลูก หรือที่เราเรียกกันว่า Implanter นั่นเองครับ

การใช้ Implanter จะทำให้คุณหมอผู้ปลูกสามารถกำหนดความลึกและทิศทางของเส้นผมได้ครับ ดังนั้นการปลูกผมด้วย Implanter จึงได้ผลลัพธ์ที่ดูเป็นธรรมชาติครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างแนวผมใหม่ คงไม่ดีแน่ ๆ หากเราต้องการสร้างแนวผมใหม่ แต่ดันไม่แน่นหรือมีทิศทางที่ไม่เป็นธรรมชาติครับ

และนี่ก็เป็นที่มาของเทคนิคที่ชื่อว่า DHI (Direct Hair Implantation) ครับ ถึงแม้ว่าขั้นตอนการเจาะกราฟต์ผมออกมาจะไม่ต่างกับเทคนิค FUE แบบดั้งเดิม แต่ในส่วนของขั้นตอนการปลูกแตกต่างกันชัดเจน

DHI เป็นเพียงชื่อทางการตลาดจริงหรือ?

คำถามที่หลาย ๆ คนสอบถามหมอเข้ามาก็คือ DHI เป็นแค่ชื่อในมาการตลาดจริงหรือไม่ หมอต้องขอตอบแบบนี้ครับว่า มันขึ้นอยู่กับมุมมอง จะให้เรียกว่าการปลูกผม FUE แบบใช้ Implanter ก็คงดูแปลก ๆ และที่สำคัญ คำว่า DHI ก็เป็นคำกลางที่ใช้กันทั่วโลกครับ ในตำราเมื่อหลายปีก่อน การปลูกผม FUE ยังย่อมาจาก Follicular Unit Extraction ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็น Follicular Unit Excision ในภายหลัง เนื่องจากเทคโนโลยีการปลูกผมยังเป็นสิ่งที่ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดพัฒนาการด้านต่าง ๆ เพื่อให้ผลลัพธ์ดียิ่งขึ้นไป และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ที่ดีกว่าเดิม จึงไม่แปลกที่จะทำให้เกิดคำนิยาม หรือคำเรียกใหม่ ๆ ขึ้นมาครับ

เลือกเทคนิคไหนดี

ส่วนตัวหมอแนะนำเทคนิค DHI ครับ เพราะอย่างที่แจ้งไปข้างต้นที่ผลลัพธ์ดูเป็นธรรมชาติกว่าชัดเจน ที่สำคัญการปลูกผมเทคนิค DHI ไม่ต้องพักฟื้นครับ ดังนั้นในปี 2021 นี้หากคนไข้ท่านใดรู้สึกกังวลกับปัญหาผม หมออยากให้ทุก ๆ คนได้ศึกษาการปลูกผมเทคนิค DHI ครับ ไม่ว่าจะเป็นบทความในไทย หรือต่างประเทศก็ตาม

แต่การปลูกผม FUE ไม่ได้เป็นทางเลือกที่เลวร้ายเลยครับ เพราะอย่างน้อยที่สุดก็ไม่ได้เกิดรอยแผลเป็นด้านหลังชัดเจน ดังนั้นสำหรับหลาย ๆ ท่านที่ปัญหาไม่มาก ต้องการปลูกแซมเพียงเล็กน้อยก็สามารถปลูกผมด้วยเทคนิค FUE ครับ

การเลือกแพทย์และคลินิกปลูกผมก็สำคัญไม่แพ้กัน

การปลูกผมเป็นหัตถการที่ต้องการความชำนาญของทีมแพทย์ เนื่องจากเป็นหัตถการที่มีความละเอียดอ่อน ดังนั้นนอกจากเทคนิคที่ใช้ปลูกแล้ว ความชำนาญของทีมแพทย์ก็เป็นปัจจัยสำคัญในการปลูกผมครับ

Facebook
Twitter
LinkedIn
Facebook
Twitter
LinkedIn
Share the Post:

Related Posts

Rejuvenation Therapy

การดูแลตัวเอง ก่อน-หลัง ปลูกผม

สำหรับใครที่กำลังตัดสินใจจะปลูกผม สิ่งแรกที่ต้องทราบเลยก็คือ ก่อนปลูกผมต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง เพื่อให้การปลูกผมดำเนินไปได้อย่างราบรื่น และเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยที่สุด รวมไปถึงหลังปลูกผมเราต้องดูแลอย่างไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของคนไข้ให้มากที่สุด เ

Read More

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้ครับ
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการทำงานของเว็บไซต์

    ซึ่งเป็นคุกกี้ประเภทที่จดจำสิ่งที่ผู้ใช้บริการเลือกหรือตั้งค่าบนเว็บไซต์เช่น ชื่อบัญชีผู้ใช้ภาษา ฟ้อนต์และรูปแบบการนำเสนอ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ตรงความต้องการเฉพาะบุคคลให้แก่ผู้ใช้บริการได้มากขึ้นตามการตั้งค่าที่เลือกไว้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
    รายละเอียดคุกกี้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลวส่วนบบุคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ
    รายละเอียดคุกกี้

Save